วันพุธที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ปัจจัยความสำเร็จที่สำคัญของการจัดการความรู้



https://sites.google.com/site/gaiusjustthink/    ปัจจัยความสำเร็จที่สำคัญของการจัดการความรู้ สามารถแบ่งออกเป็น 7 ปัจจัยหลัก ดังนี้
1.             Purpose | วัตถุประสงค์การจัดการความรู้
2.             Policy | นโยบายการจัดการความรู้
3.              Plan | แผนแม่บทและแผนปฏิบัติการการจัดการความรู้
4.             Process | กระบวนการที่เลือกใช้ในการจัดการความรู้ 
5.             Project Owners | ผู้รับผิดชอบโครงการ
6.             Participation | การมีส่วนร่วมจากบุคลากรทั้งหมดขององค์การ
7.             Tools | การเลือกใช้เครื่องมือในการจัดการความรู้
http://engkm.eng.src.ku.ac.th/index.php    ปัจจัยที่ทำให้ KM ประสพความสำเร็จในองค์กร

1. วัฒนธรรมและพฤติกรรมของคนในองค์กร

องค์กรเองต้องมีวัฒนธรรมภายในแห่งความไว้เนื้อเชื่อใจ และให้เกียรติกัน  เคารพในสิทธิและความคิดของผู้ร่วมงานในทุกระดับแม้เป็นบุคลากรระดับล่างก็ตาม การเรียนรู้สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเรื่องแม้แต่สิ่งที่เป็นข้อผิดพลาดในอดี

2. ผู้นำ และการสร้างกลยุทธ์

ผู้บริหารระดับสูงต้องมีความเชื่อในคุณค่าของคนและความรู้ที่มีในองค์กร เข้าใจในลักษณะของปัญหาและพันธะกิจขององค์กร ส่งเสริมและสนับสนุนความเป็นมืออาชีพในด้านต่างๆให้เกิดขึ้น ค้นหาและเชิดชูกระบวนการทำงานที่เป็นเลิศจากหน่วยงานภายใน  เป็นต้นแบบแห่งการเป็นผู้ริเริ่มในการแบ่งปันและเรียนรู้ 

3. เทคโนโลยี

ความพร้อมของอุปกรณ์ทันสมัยของเทคโนโลยีที่สามารถสนับสนุนการทำงานและการเรียนรู้ของคนในองค์กรได้ การสร้างฐานข้อมูลและการจัดการระบบฐานข้อมูลตลอดจนวิธีการที่จะทำให้คนยอมใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นสื่อกลางในการรวบรวมและส่งต่อขององค์ความรู้

4. การวัดผลและการนำไปใช้

จัดทำระบบการติดตามและวัดผลของการจัดการความรู้และประโยชน์จากการนำไปใช้ เพื่อสร้างแรงขับเคลื่อนให้คนในองค์กรมีความกระหายอยากเรียนรู้และอยากมีส่วนร่วมในการสร้างฐานความรู้ให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง

5. โครงสร้างพื้นฐาน

การวางระบบการบริหารจัดการ  การรวบรวมข้อมูล และการรายงานผลการดำเนินการต่างๆที่จะเอื้อให้แผนงานของการจัดการความรู้ประสพผลสำเร็จ
 http://www.stks.or.th/blog/?p=164    ปัจจัยความสำเร็จที่สำคัญของการจัดการความรู้ สามารถแบ่งออกเป็น 7 ปัจจัยหลัก ดังนี้
1. เทคโนโลยี (เครือข่าย)
2. การสร้างและการเผยแพร่ความรู้
 3. การแบ่งปันถ่ายทอดความรู้
 4. คลังความรู้อิเล็กทรอนิกส์
 5. การฝึกอบรม วัฒนธรรม และผู้นำ
 6. ประเด็นของความจริงใจ
 7. โครงสร้างพื้นฐานของความรู้

สรุป
    ปัจจัยที่ทำให้ KM ประสพความสำเร็จในองค์กร

1. วัฒนธรรมและพฤติกรรมของคนในองค์กร  องค์กรเองต้องมีวัฒนธรรมภายในแห่งความไว้เนื้อเชื่อใจ และให้เกียรติกัน  เคารพในสิทธิและความคิดของผู้ร่วมงานในทุกระดับแม้เป็นบุคลากรระดับล่างก็ตาม การเรียนรู้สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเรื่องแม้แต่สิ่งที่เป็นข้อผิดพลาดในอดี

2. ผู้นำ และการสร้างกลยุทธ์    ผู้บริหารระดับสูงต้องมีความเชื่อในคุณค่าของคนและความรู้ที่มีในองค์กร เข้าใจในลักษณะของปัญหาและพันธะกิจขององค์กร ส่งเสริมและสนับสนุนความเป็นมืออาชีพในด้านต่างๆให้เกิดขึ้น ค้นหาและเชิดชูกระบวนการทำงานที่เป็นเลิศจากหน่วยงานภายใน  เป็นต้นแบบแห่งการเป็นผู้ริเริ่มในการแบ่งปันและเรียนรู้ 

3. เทคโนโลยี   ความพร้อมของอุปกรณ์ทันสมัยของเทคโนโลยีที่สามารถสนับสนุนการทำงานและการเรียนรู้ของคนในองค์กรได้ การสร้างฐานข้อมูลและการจัดการระบบฐานข้อมูลตลอดจนวิธีการที่จะทำให้คนยอมใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นสื่อกลางในการรวบรวมและส่งต่อขององค์ความรู้

4. การวัดผลและการนำไปใช้    จัดทำระบบการติดตามและวัดผลของการจัดการความรู้และประโยชน์จากการนำไปใช้ เพื่อสร้างแรงขับเคลื่อนให้คนในองค์กรมีความกระหายอยากเรียนรู้และอยากมีส่วนร่วมในการสร้างฐานความรู้ให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง

5. โครงสร้างพื้นฐาน    การวางระบบการบริหารจัดการ  การรวบรวมข้อมูล และการรายงานผลการดำเนินการต่างๆที่จะเอื้อให้แผนงานของการจัดการความรู้ประสพผลสำเร็จ


อ้างอิง
                https://sites.google.com/site/gaiusjustthink/    เข้าถึงเมื่อวันที่   27  ก.ค.  56
                http://engkm.eng.src.ku.ac.th/index.php  เข้าถึงเมื่อวันที่   27  ก.ค.  56
                http://www.stks.or.th/blog/?p=164    เข้าถึงเมื่อวันที่   27  ก.ค.  56

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น